วันพุธที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

เนื้อหา


บริษัทมาลีจำกัด
ความเป็นมาของบริษัท
บริษัทมาลี เป็นบริษัทหนึ่งที่มีส่วนในการปฏิวัติวงการผลไม้ไทยให้ก้าวไกลไปอีกซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ในสมัยนั้น บริษัทมาลีเริ่มต้นธุรกิจในปีพ.ศ.2507จากอุตสาหกรรมในครอบครัวและได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัท มาลีสามพราน จำกัด เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 ด้วยทุนจดทะเบียน 10ล้านบาทเพื่อดำเนินธุรกิจผู้ผลิตจำหน่ายอาหารกระป๋องและผลไม้กระป๋องต่อมาเมื่อกิจการเจริญเติบโตขึ้นจึงทำการขยายกำลังการผลิตโดยสร้างโรงงานขึ้นบน พื้นที่ 30 ไร่ที่อำเภอสามพรานจังหวัดนครปฐมในปี พ.ศ. 2524

          หลังจากดำเนินธุรกิจจนบริษัทมาลีมีความมั่นคงและมีความน่าเชื่อถือในระดับสูงบริษัทมาลีจึงนำหุ้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2535 ต่อมาเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2538
มีการเปลี่ยนแปลงกลุ่มผู้ถือหุ้นโดยบริษัทเอบิโก้ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)ได้เข้าซื้อหุ้นจากผู้ถือหุ้นเดิมจำนวน 10,000,000 หุ้นคิดเป็นร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน 250 ล้านบาท บริษัทมาลี จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน)เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 และได้มีการเพิ่มทุนเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2541 เพื่อรองรับธุรกิจที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากเดิมทุนจดทะเบียนจำนวน 500 ล้านบาท เป็น 999.99 ล้านบาทเป็นทุนชำระแล้วจำนวน 700 ล้านบาทและได้สร้างโรงงานแห่งที่สองตั้งอยู่ที่ี่อำเภอบ้านแพง จ.นครพนมเพื่อผลิตและส่งออกข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋องในปี พ.ศ. 2543

              ปัจจุบันบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน)เป็นบริษัทชั้นนำในกลุ่มผู้ผลิตอาหารและเครื่องดื่ม โดยมีสินค้าหลักคือผลไม้กระป๋อง น้ำผลไม้และเครื่องดื่มธัญพืช ภายใต้ตรา "มาลี"ซึ่งเป็นที่เชื่อถือและรู้จักอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศอีกทั้งเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์สับปะรดบรรจุกระป๋อง, สับปะรดบรรจุถุงปลอดเชื้อ,

น้ำสับปะรดเข้มข้น, ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง, ผลไม้รวมและผลไม้ฤดูกาลบรรจุกระป๋อง, น้ำผลไม้, น้ำผักผลไม้บรรจุกล่องยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์, เครื่องดื่มบรรจุกระป๋องและขวด PET ตลอดจนนมสดยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ภายใต้เครื่องหมายการค้าตราฟาร์มโชคชัย

          บริษัทมาลีดำเนินธุรกิจมากว่า 30 ปีจึงได้รับความเชื่อถือไว้วางใจจากลูกค้าและผู้บริโภคและได้เป็นสมาชิกขององค์กรชั้นนำต่าง ๆ เช่น สภาหอการค้าแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารสมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูปกรมส่งเสริมการส่งออกและสภาผู้ขนส่งทางเรือแห่งประเทศไทย

วิสัยทัศน์
 บริษัทมาลี คือผู้นำการตลาดน้ำผลไม้ ผลไม้กระป๋องและเครื่องดื่มธัญพืช ที่มีความเชี่ยวชาญใน
ทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการคัดสรรวัตถุดิบ การผลิต การแปรรูปผลไม้และการจัดจำหน่ายทั้งในและต่างประเทศ โดยมีเป้าหมายสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าทุกระดับ ดั่งวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ คือ

บริษัทในใจคู่ค้าและผู้บริโภคในธุรกิจอาหารแปรรูประดับสากล
ลักษณะธุรกิจ
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปนานาชนิดและจำหน่ายทั้งตลาดในประเทศ และต่างประเทศ โดยจำแนกธุรกิจหลักออกเป็น 2 ธุรกิจ คือ

ธุรกิจแปรรูปผลไม้ เช่น สับปะรดและผลไม้รวมบรรจุกระป๋อง สับปะรดบรรจุถุงปลอดเชื้อ น้ำสับปะรดเข้มข้น ข้าวโพด
   หวานบรรจุกระป๋อง ผลไม้รวม ผลไม้ฤดูกาลบรรจุกระป๋อง (เงาะ ลิ้นจี่ ลำไย มะม่วง เป็นต้น)

ธุรกิจเครื่องดื่ม เช่น น้ำผลไม้ น้ำผักผลไม้ บรรจุในกล่องยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ ชา กาแฟและน้ำดื่มบรรจุใน
   กระป๋อง กล่องยูเอชทีและขวดพลาสติก PET ภายใต้เครื่องหมายการค้าตรา มาลีและตราลูกค้า ตลอดจนนมสด
   ยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ภายใต้เครื่องหมายการค้าตราฟาร์มโชคชัยโดยมีสัดส่วนของธุรกิจส่งออกประมาณ 35%
   และธุรกิจขายภายในประเทศประมาณ 65%

           บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) มีฐานการผลิตวัตถุดิบหลักจากการทำ Contract farming กับสมาชิกเกษตรกร เพื่อให้มั่นใจว่ามีวัตถุดิบ เพียงพอสำหรับการผลิตให้ได้ตามความต้องการของลูกค้ารวมถึงสามารถ
ควบคุมคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานตามเกณฑ์ของ GMP, HACCP, BRC, IFS จาก SGS Yarleys และ Q-MARK จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

          บริษัท มาลีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด เป็นบริษัทในเครือ โดยเป็นผู้ดูแลด้านการตลาดของสินค้าที่จำหน่ายในประเทศทั้งหมด โดยมีทั้งการจัดจำหน่ายเองและจำหน่ายผ่านตัวแทนจำหน่ายทั่วประเทศ





แผนกต่าง ๆ ในบริษัท


แผนกการเงินและบัญชี
หน้าที่ของแผนกบัญชี       
มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดทำบัญชีต่าง ๆ ตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินและรวบรวมข้อมูลการเงินและบัญชี วิเคราะห์งบฐานะการเงิน
ปัญหาของแผนกบัญชี
1.      มีเอกสารต่าง ๆจำนวนมาก
2.      ต้องใช้เวลาในการค้นหาเอกสาร  เนื่องจากมีเอกสารจำนวนมากและยังจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ
3.      เอกสารเกิดการสูญหายได้ง่าย
4.      สิ้นเปลืองพื้นที่สำหรับการจัดวางเอกสาร
5.      ข้อมูลลับทางการเงินของบริษัทอาจจะถูกเปิดเผยได้ง่าย
6.       การตรวจสอบข้อมูลอาจจะทำได้อย่างล่าช้าและเสียเวลา
7.       ข้อมูลเกิดการซ้ำซ้อนได้
8.    หากเกิดการสูญหายของข้อมูลบางส่วนอาจจะทำให้เกิดความผิดพลาดในการตรวจสอบข้อมูลครั้งต่อไปได้
9.    เกิดความล่าช้าการทำงานขององค์กร
แผนกคลังสินค้า
หน้าที่ของแผนกคลังสินค้า
ทำ หน้าที่ควบคุมดูแลจดบันทึกประเภท และจำนวนสินค้า การรับ การเก็บ การจัดการตรวจสอบสินค้า หรือวัตถุดิบตามระบบการควบคุมสินค้าที่มีประสิทธิภาพได้มาตรฐาน เพื่อป้องกันสินค้า หรือวัตถุดิบเสียหายก่อนจัดส่งถึงมือลูกค้าหรือผู้ใช้ อาจทำการจัดระบบการจัดการสินค้าคงคลังที่เรียกว่า Vendor Management Inventory ( VMI) เพื่อสะดวกในการตรวจสอบสินค้าคงคลัง
ปัญหาของแผนกคลังสินค้า
1.        พื้นที่ในการจัดเก็บสินค้าไม่เพียงพอต่อการจัดเก็บสินค้าปริมาณมากทั้งสินค้าใหม่และสินค้าเก่า
2.        ค้นหาเอกสารข้อมูลสินค้าได้ยาก  เนื่องจากเอกสารมีจำนวนมากและยังจัดเก็บไม่เป็นระบบ
3.        ในการเช็คสต็อกอาจเกิดความผิดพลาดขึ้น  เนื่องจากความผิดพลาดของข้อมูล
4.     สินค้า สูญหายทำให้จำนวนสินค้าภายในคลังสินค้าอาจไม่พอหรือว่ามีจำนวนสินค้ามากเกิน ไป  เนื่องจากไม่สามารถเช็คได้ว่าในคลังสินค้ามีจำนวนสินค้าอยู่เท่าไร

แผนกจัดซื้อ
หน้าที่ของแผนกจัดซื้อ
มีหน้าที่จัดซื้อวัตถุดิบชิ้นส่วนหรือวัสดุต่างๆที่หน่วยงานต้องการให้ตรงกับความต้องการทั้งในด้าน ปริมาณคุณภาพ และเวลา โดยให้มีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ต่ำที่สุด
ปัญหาของแผนกจัดซื้อ
1.             ราคาของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตไม่แน่นอน
2.             เวลาในการสั่งของสินค้าและได้รับนั้น ไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
3.             เอกสารที่ใช้ในการสั่งซื้ออาจสูญหายได้ เนื่องจากการจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นระเบียบ
4.             การค้นหาเอกสารอาจจะได้ยาก

แผนกการขาย
 หน้าที่ของแผนกการขาย
มีหน้าที่ในการบริการจำหน่ายสินค้าให้กับลูกค้า  โดยแผนกขายจะมีการเก็บข้อมูลของลูกค้าที่มาสั่งซื้อ  และข้อมูลการสั่งซื้อ
ปัญหาของแผนกการขาย
1.       เอกสารมีจำนวนมาก อาทิเช่น เอกสารข้อมูลลูกค้า  เอกสารการขาย เป็นต้น
2.       ข้อมูลอาจเกิดการซ้ำซ้อน
3.        เอกสารอาจเกิดการสูญหายได้
4.        ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างครบถ้วนและเป็นสัดส่วน
5.         ทำการแก้ไขข้อมูลได้ยาก เนื่องจากมีเอกสารจำนวนมาก
แผนกจัดส่งสินค้า
หน้าที่ของแผนกการจัดส่งสินค้า
ขนส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าให้ตรงตามเวลา และสถานที่ที่กำหนด เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ โดยรับสินค้าจาก ฝ่ายผลิตและคลังสินค้า
ปัญหาแผนกการจัดส่งสินค้า
1.  ในการจัดส่งสินค้าอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงของเส้นทาง
2.   การจัดส่งสินค้าอาจจะเกิดความล่าช้า เนื่องจากการขาดความชำนาญทางของผู้ขับรถส่งสินค้า
3.    สินค้าอาจเกิดความเสียหายขณะขนส่ง
4.    ระยะเวลาในการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าอาจใช้เวลานานเนื่องจากต้องมีการค้นหาข้อมูลลูกค้าก่อน

ปัญหาระหว่างแผนก
  ปัญหาระหว่างฝ่ายบัญชีและแผนกจัดซื้อ
1.   เนื่องจากฝ่ายบัญชีอนุมัติเงินล่าช้าทำให้ฝ่ายจัดซื้อเสียเวลาให้การจัดซื้อสินค้า
2.  หากฝ่ายจัดซื้อทำใบเสร็จสูญหายฝ่ายบัญชีไม่สามารถทราบยอดสั่งซื้อทำให้ไม่สามารถทำบัญชีได้
ปัญหาระหว่างแผนกบัญชีและแผนกการขาย
1.     แผนกขายทำเอกสารในการสั่งซื้อสูญหาย แผนกบัญชีจะไม่ทราบยอดการสั่งซื้อ
2.    แผนกขายทำเอกสารใบชำระเงิน  ของลูกค้าสูญหายแผนกบัญชีก็จะไม่ทราบว่าลูกค้าจ่ายเงินหรือยัง
3. แผนกขายได้ขายสินค้าไปโดยไม่ได้แจ้งให้แผนกบัญชีทราบจะทำให้ยอดขายกับยอดการเงินไม่เท่ากัน
ปัญหาระหว่างแผนกขายกับแผนกจัดส่งสินค้า
      หาก แผนกการขายทำเอกสารการสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าหายจะทำให้แผนกจัดส่งสินค้า ไม่ทราบว่าจะส่งสินค้าให้กับลูกค้าไม่ได้ ไม่รู้สถานที่จัดส่งสินค้า เวลาในการนัดรับสินค้าไม่ตรงตามที่ระบุ
ปัญหาระหว่างแผนกคลังสินค้าและการขาย
    หากเอกสารข้อมูลในคลังสินค้ามีมากกว่าความเป็นจริงเมื่อฝ่ายขนส่งต้องการสินค้าอาจจะมีสินค้าไม่เพียงพอแก่การขนส่ง
ปัญหาระหว่างแผนกควบคุมคุณภาพและบุคคลกับฝ่ายผลิตถ้า แผนกควบคุมคุณภาพตรวจพบ ปัญหาที่ชิ้นงานที่ฝ่ายผลิตทำ แผนกควบคุมคุณภาพก็จะต้องตีชิ้นงานนั้นกลับไปให้ฝ่ายผลิตทำใหม่ จึงทำให้การดำเนินการผลิตนั้นเป็นไปอย่างล่าช้าไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด และเป็นการเพิ่มต้นทุกการผลิตด้วย

ปัญหาทั้งหมดและระบบแก้ไขปัญหา
1. เอกสารมีจำนวนมาก  ทำให้การจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ   
2. สิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บแฟ้มเอกสาร  เพราะเอกสารทุกชนิดจะจัดเก็บภายในแฟ้ม
3. ค้นหาเอกสารได้ยาก  เนื่องจากเอกสารมีเยอะและจัดเก็บไว้หลายที่
4. ข้อมูลมีการสูญหาย  เพราะไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเอกสารที่ต้องการอยู่ตรงไหน  เนื่องจากการเก็บเอกสารยังไม่เป็นระบบ  อาจทำให้บริษัทได้รับความเสียหาย
                5. ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน  เนื่องจากลูกค้า 1 ท่านมาซื้อสินค้าหลายครั้ง  แต่พนักงานขายก็เก็บข้อมูลทุกครั้งทำให้มีเอกสารซ้ำซ้อน
        6. การตรวจสอบเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินทำได้ช้า ไม่สะดวกรวดเร็ว
        7. ในการเช็คสต็อกอาจเกิดความผิดพลาดขึ้น  เนื่องจากสินค้าจัดเก็บอยู่หลายที่ทำให้อาจลืมเช็คได้
       8.ข้อมูลสินค้าสูญหายทำให้จำนวนสินค้าภายในคลังสินค้าอาจไม่พอหรือว่ามีจำนวน สินค้ามากเกินไป  เนื่องจากไม่สามารถเช็คได้ว่าในคลังสินค้ามีจำนวนสินค้าอยู่เท่าไร
        9. ระยะเวลาในการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าอาจใช้เวลานานเนื่องจากต้องมีการค้นหาข้อมูลลูกค้าก่อน
       10. ข้อมูลมีความแตกต่าง  เช่น  ลูกค้ามีที่อยู่หลายที่ทำให้ไม่สามารถทราบได้ว่าจะจัดส่งสินค้าให้ที่ใด
       11. พบข้อบกพร่องของชิ้นงานที่ทำ เช่น สินค้าที่ทำออกมาไม่ตรงไปตามแบบที่ลูกค้ากำหนด
       12. ปริมาณและคุณภาพของสินค้าไม่ได้ตามที่กำหนด
       13. วัตถุดิบ ชิ้นส่วนต่างๆบางชิ้นมีราคาแพง
     14. ระยะเวลาในการรับสินค้าที่สั่ง ไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
15. อุปกรณ์บางชิ้นนำไปใช้แล้วเกิดการชำรุดเสียหาย
16. อุปกรณ์ยืมไปไม่ได้คืน
17. ระยะเวลาในการซ่อมบำรุงนั้นบางอย่างก็ไม่ตรงตามที่กำหนด
18. แบบสิ้นค้าไม่ถูกใจลูกค้า
19. ระยะเวลาในการออกแบบชิ้นงานไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
20. สินค้าไม่ได้คุณภาพตามที่ลูกค้ากำหนด
21. แผนกขายทำเอกสารในการสั่งซื้อสูญหาย แผนกบัญชีจะไม่ทราบยอดการสั่งซื้อ
22. แผนกขายทำเอกสารใบชำระเงิน  ของลูกค้าสูญหายแผนกบัญชีก็จะไม่ทราบว่าลูกค้าจ่ายเงินหรือยัง
23. แผนกขายได้ขายสินค้าไปโดยไม่ได้แจ้งให้แผนกบัญชีทราบจะทำให้ยอดขายกับยอดการเงินไม่เท่ากัน
24. แผนกคลังสินค้าไม่ทราบยอดสินค้า ทำให้เมื่อแผนกขายจะขายสินค้าก็จะไม่ทราบว่าสินค้ามีจำนวนเพียงพอกับการขายหรือไม่
25. แผนกขายไม่ได้ส่งยอดการสั่งซื้อและการสั่งจองในบางกรณีของลูกค้าให้แผนกคลัง สินค้าทราบ  ทำให้แผนกคลังสินค้าไม่ทราบว่าจะต้องมีการสั่งซื้อสินค้ามาเพิ่มหรือไม่  เพื่อให้เพียงพอสำหรับการขาย
26. แผนกขายทำเอกสารการสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าหายจะทำให้แผนกจัดส่งสินค้าไม่ ทราบว่าจะส่งสินค้าให้กับลูกค้าไม่ได้ ไม่รู้สถานที่จัดส่งสินค้า เวลาในการนัดรับสินค้าไม่ตรงตามที่ระบุ
27. แผนกคลังสินค้าไม่ได้แจ้งยอดการคลังสินค้าให้แผนกบัญชีทราบ  แผนกบัญชีก็ไม่สามารถทำงบการเงินได้  เพราะจะต้องทราบยอดสินค้าคงเหลือของแต่ละงวด
28. แผนกจัดส่งสินค้าไม่ส่งสินค้าให้กับลูกค้า  แล้วไม่แจ้งการชำระเงินของลูกค้าให้แผนกบัญชีทราบ  แผนกบัญชีก็จะไม่ทราบว่าลูกค้าชำระเงินแล้ว
29. แผนกคลังสินค้าไม่ทราบยอดสินค้า  ว่ามีพอสำหรับการจัดส่งสินค้าหรือไม่  แผนกจัดส่งสินค้าก็อาจจะไม่มีสินค้าไปจัดส่งให้กับลูกค้า
30. แผนก ควบคุมคุณภาพตรวจพบ ปัญหาที่ชิ้นงานที่ฝ่ายผลิตทำ แผนกควบคุมคุณภาพก็จะต้องตีชิ้นงานนั้นกลับไปให้ฝ่ายผลิตทำใหม่ จึงทำให้การดำเนินการผลิตนั้นเป็นไปอย่างล่าช้าไม่ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด


ตารางแสดงรายการ การทำงาน (Functions) ทางธุรกิจของบริษัท




หน้าที่
(Function)
หน่วยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
(Data Entities)

ระบบสารสนเทศ
(Information  System)


1.บัญชี
2.ผลิต
3.ขาย
4.จัดส่ง
5.จัดเก็บ
6.จัดซื้อ


1. ลูกค้า
2. สินค้า
3. วัตถุดิบ
4. ใบจ่ายเงิน
5. ใบเสร็จจ่ายเงิน
6. ใบสั่งซื้อสินค้า
7. ใบตรวจเช็คสินค้า
8. พนักงานขาย
9. พนักงานบัญชี
10พนักงานคลังสินค้า
11. ผู้จัดจำหน่าย
12. พนักงานบุคคล


1. ระบบจัดการคลังสินค้า
2. ระบบบัญชี
3.ระบบการขาย
4.ระบบการจัดซื้อสินค้า
5.ระบบจัดส่งสินค้า
6.ระบบการขาย


แสดงการจำแนกกิจกรรม (Activates) ของหน้าที่ที่การทำงาน (Function) ในบริษัท
























แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่และหน่วยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (Function-to-Data-Entities)
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง



หน้าที่ทางธุรกิจ
ลูกค้า
  สินค้า

วัตถุดิบ
  ใบจ่ายเงิน

ใบเสร็จจ่ายเงิน
ใบสั่งซื้อสินค้า
ใบตรวจเช็คสินค้า
   พนักงานขาย

   พนักงานบัญชี

พนักงานคลังสินค้า

   ผู้จัดจำหน่าย
   ผู้จัดจำหน่าย
  
ฝ่ายบัญชี











จัดบัญชีรายรับ รายจ่าย
-
-
-
-
x
x
x
-
x
-
-
ตรวจสอบความถูกต้องด้านการเงินและบัญชี
-
-
-
-
x
x
x
-
x
-
-
ดำเนินการด้านภาษีต่างๆ
x
x
-
-
x
x
x
-
x
-
-
ฝ่ายการผลิต











ตรวจสอบวัตถุในการผลิต
-
-
x
-
-
-
-
-
-
-
-
จัดกระบวนการผลิตสินค้า
-
x
x
-
-
-
-
-
-
-
-
ตรวจสอบความถูกต้องการผลิตสินค้า
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ฝ่ายจัดส่งสินค้า











จัดสรรสินค้าเพื่อเตรียมส่งสินค้า
-
x
-
-
-
-
-
-
-
x
-
ตรวจสอบความถูกต้องสินค้า
-
x
-
-
-
-
-
-
-
x
-
ตรวจสอบรายชื่อสินค้าพร้อมส่งสินค้า
-
x
-
x
x
x
x
x
-
x
-
ฝ่ายจัดเก็บ











จัดเก็บสินค้า ตรวจสอบคุณภาพสินค้า
-
x
-
-
-
-
x
-
-
x
-
รับสินค้าและเบิกจ่ายสินค้า











ฝ่ายขาย











บริการจำหน่ายสินค้าให้ลูกค้า
x
x
-
-
-
-
--
x
-
-
-
เก็บข้อมูลลูกค้าที่ส่งมา
-
-
-
-
-
-
-
-
x
-
-
อธิบายรายละเอียดของสินค้าที่ลูกค้าสนใจ
x
-
-
-
-
-
-
-
-
-
x
ฝ่ายจัดซื้อ











ตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ
-
-
x
-
-
-
-
-
-
-
-
ตรวจสอบเครื่องมือในการผลิตสินค้า
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-




การค้นหาและเลือกสรรโครงการ
ขั้นตอนการค้นหาและเลือกสรร โครงการที่ต้องการพัฒนา
1.  ค้นหาระบบที่ต้องการพัฒนา
จากการที่ได้สำรวจปัญหาของแต่ละแผนกและปัญหาระหว่างแผนกสามารถเลือกระบบที่ต้องการพัฒนาได้ดังนี้
                1. ระบบตรวจเช็คสินค้า
                2. ระบบจัดเก็บข้อมูล
                3. ระบบการขายและการจองสินค้า
ทางบริษัทได้จัดสรรงบประมาณในการพัฒนาระบบของบริษัททั้งสิ้น 300,000 บาท
ตารางแสดงโครงการที่ต้องการพัฒนา
ระบบที่ต้องการพัฒนา
เกี่ยวข้องกับแผนก
งบประมาณในการพัฒนา
1. ระบบตรวจเช็คสินค้า
คลังสินค้า,ขาย,ซ่อมบำรุง
190,000
2.ระบบขายสินค้า
ประชาสัมพันธ์,จัดซื้อ,คลังสินค้า,จัดส่งสินค้า,การตลาด,การผลิต,ขายสินค้า
130,000
3.ระบบการจองสินค้า
ขาย
150,000





2. จำแนกและจัดกลุ่มระบบ
ระบบทั้ง 3 ระบบที่ค้นหามามีวัตถุประสงค์ของแต่ละระบบดังนี้
1. ระบบการตลาด
                มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการตลาดของสินค้า สามารถสั่งสินค้าได้ง่ายมากขึ้น
2. ระบบบุคคล
                มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบการทำงานของพนักงานและตรวจสอบความถูกต้องของพนักงาน
3. ระบบประชาสัมพันธ์
               มีวัตถุประสงค์ เพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้าในสินค้า เพื่อให้ลูกค้าได้ทราบละเอียดของเครื่องดื่ม





เมื่อพิจารณาระบบทั้ง 3แล้ว พบว่าล้วนให้ประโยชน์กับบริษัท จึงจำเป็นต้องคัดเลือกระบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันของบริษัทมากที่สุด ดังนั้นจึงเริ่มต้นด้วยการนำระบบทั้ง3 มาเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของบริษัทเพื่อค้นหาระบบที่ตรงตามวัตถุประสงค์มากที่สุดและสามารถบรรลุเป้าหมายสูงสุดของบริษัทได้ดังรายละเอียดจากตาราง

ตารางแสดงการเปรียบเทียบโครงการกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของบริษัท
ระบบตรวจเช็คสินค้า
ระบบขายสินค้า
ระบบการจองสินค้า
1. เพื่อเพิ่มจำนวนลูกค้าให้มากขึ้นและสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า
X
X
X
2. เพื่อเพิ่มความมั่นคงให้กับกิจการ
X
x
X
3. เพื่อการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐาน
X
-
-
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้กับพนักงาน
X
X
X


จากตารางแสดงการเปรียบเทียบระบบกับวัตถุประสงค์ พบว่าแต่ละระบบสามารถตอบสนองความต้องการของบริษัทได้ทั้งหมด แต่เนื่องด้วยทางบริษัทมีงบประมาณในการพัฒนาระบบจำกัด จึงต้องนำระบบทั้ง 3 มาพิจารณาใหม่อีกครั้งซึ่งจะต้องดูรายละเอียดของขนาดระบบ งบประมาณและผลประโยชน์ สามารถแสดงได้ดังตารางต่อไปนี้




ตารางเมตริกซ์

ระบบสารสนเทศ
วัตถุประสงค์และผลประโยชน์
ระบบตรวจเช็คสินค้า
ระบบขายสินค้า
ระบบการจองสินค้า
วัตถุประสงค์ของบริษัท



1เพื่อเพิ่มยอดขายให้มากขึ้น
x
x
X
2.เพื่อเพิ่มลูกค้าให้มากขึ้น
x
x
x
3. เพื่อเพิ่มความมั่นคงของกิจการ
x
x
X
4.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
x
x
x
ขนาดของระบบ



1. ขนาดใหญ่
-
X
x
2. ขนาดกลาง

X
-
3. ขนาดเล็ก
-
x
-
ผลประโยชน์



1เพื่อดึงดูดความสนใจให้กับลูกค้า
x
x
X
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
x
x
X
3.สามารถเช็คยอดสินค้าได้อย่างรวดเร็ว
x
-
-
4. สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า
x
x
X
5. ลดความซับซ้อนในการทำงาน
x
-
x

จากการพิจารณาโครงการทั้ง 3 โครงการตามวัตถุประสงค์ ขนาดของโครงการที่ต้องการพัฒนาและผลประโยชน์จะพบว่าโครงการที่ตรงตามวัตถุประสงค์และให้ผลประโยชน์แก่บริษัทมากที่สุดคือ ระบบตรวจเช็คสินค้า กับ ระบบขายสินค้าและการจองสินค้า แต่เนื่องจากข้อจำกัดด้านเงินลงทุนของบริษัท ทางบริษัทจึงเห็นควรเลือกพัฒนาโครงการระบบตรวจเช็คสินค้า ซึ่งเป็นโครงการขนาดกลางที่ทางบริษัทสามารถให้เงินลงทุนได้และปฎิเสธ โครงการพัฒนาระบบการขายและการจองสินค้าไปเนื่องจากใช้งบประมาณในการพัฒนาสูงกว่า
การเสนอแนวทางเลือก ในการนำระบบพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้ามาใช้งาน
                หลังจากที่ได้วิเคราะห์ระบบเดิมและพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นคือทำให้สามารถตรวจสอบคุณภาพสินค้าและตรวจเช็คสินค้าในคลังในยาก อีกทั้งมีปัญหาในเรื่องของการเบิกจ่ายและการสั่งซื้ออาจทำให้เกิดความซับซ้อนของข้อมูล เช็คย้อนหลังได้ยาก เพื่อลดปัญหาต่างๆลง ได้มีการเสนอโครงการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นทางทีมงานได้รวมรวบข้อมูลจากผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องและนำเสนอผู้บริหารจากนั้นจึงได้จำลองขั้นตอนการทำงานของระบบใหม่นำเสนอให้ผู้บริหารและผู้ใช้ระบบเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและนำมาแก้ไขให้ตรงตามความต้องการ โดยมีแนวทางเลือกในการพัฒนาโครงการ 3 แนวทาง คือ
ทางเลือกที่ 1 การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Packaged Software)
ทางเลือกที่ 2 ว่าจ้างบริษัทจากภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ (Outsourcing)
ทางเลือกที่ 3 ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ (In-House Development)
แนวทางเลือกที่ 1  จัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
ลำดับที่
ความต้องการในการพัฒนาระบบเงื่อนไขการพิจารณา
แนวทางเลือกในการจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
Software  A
Software  B

ความต้องการในระบบตาม TOR

1.
หน้าที่การทำงาน
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่ได้จัดทำไว้
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่ได้จัดทำไว้
2.
ความยืดหยุ่น
สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการ โดยไม่กระทบกับโครงสร้างหลักขององค์กร
ไม่สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการ โดยไม่กระทบกับโครงสร้างหลักขององค์กร

เงื่อนไข

1.
ต้นทุน รวมค่าบำรุงรักษา
220,000
250,000
2.
การบริการหลังการขาย/ติดตั้งแล้วเสร็จ
ติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งาน 2 วัน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งาน 1 วัน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
3.
คู่มือประกอบการใช้งาน
มีคู่มือสำหรับผู้ใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาทางได้ทางโทรศัพท์
มีคู่มือสำหรับผู้ใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาทางได้ทางโทรศัพท์
4.
ระยะเวลาส่งมอบ
29 วัน
25 วัน

การประเมินแนวทางเลือกที่ 1
                ทางทีมงานได้ทำการประเมินผลแนวทางเลือกซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม โดยกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
                น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
                น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
                น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
                น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง
ซึ่งผลจากการประเมิน โดยการให้น้ำหนักหรือคะแนนของทีมงาน ปรากฏผลดังตารางต่อไปนี้
ทีมงาน/ซอฟต์แวร์
เปรียบเทียบการให้น้ำหนัก  (คะแนนเต็ม 10 )
จัดซื้อ  Software  A
จัดซื้อ  Software  B
หัวหน้าทีมงานผู้บริหาร
3
2
ทีมงานผู้บริหาร 1
2
1
โปรแกรมเมอร์
2
2
รวม
7
5
คิดเป็นเปอร์เซ็นต์
70
50
เกณฑ์ที่ได้
ดี
พอใช้

สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 1
            ทางทีมงานได้สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกใช้ซอฟต์แวร์ A มาพิจารณา เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด

ลำดับที่
ความต้องการในการพัฒนาระบบเงื่อนไขการพิจารณา
แนวทางเลือกในการว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัตนาระบบ
บริษัท A
บริษัท  B

ความต้องการในระบบตาม TOR

1.
หน้าที่การทำงาน
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่ได้จัดทำไว้
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่ได้จัดทำไว้
2.
ความยืดหยุ่น
สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการ โดยไม่กระทบกับโครงสร้างหลักขององค์กร
สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการ โดยไม่กระทบกับโครงสร้างหลักขององค์กร

เงื่อนไข

1.
ต้นทุน รวมค่าบำรุงรักษา
320,000
280,000
2.
การบริการหลังการขาย/ติดตั้งแล้วเสร็จ
ติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งาน 3 วัน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งาน 4 วัน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
3.
คู่มือประกอบการใช้งาน
มีคู่มือสำหรับผู้ใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาทางได้ทางโทรศัพท์
มีคู่มือสำหรับผู้ใช้งานพร้อมสอบถามปัญหาทางได้ทางโทรศัพท์
4.
ระยะเวลาส่งมอบ
50 วัน
60 วัน
5.
ความน่าเชื่อถือของบริษัท(ระยะเวลาที่เปิดบริษัท)
9 ปี
5 ปี
การประเมินแนวทางเลือกที่ 2
                ทางทีมงานได้ทำการประเมินผลแนวทางเลือกซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม โดยกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
                น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
                น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
                น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง
ซึ่งผลจากการประเมิน โดยการให้น้ำหนักหรือคะแนนของทีมงาน ปรากฏผลดังตารางต่อไปนี้
ทีมงาน/ซอฟต์แวร์
เปรียบเทียบการให้น้ำหนัก  (คะแนนเต็ม 10 )
ว่าจ้างบริษัท  A
ว่าจ้างบริษัทB
หัวหน้าทีม(นักวิเคราะห์ระบบ)
3
3
โปรแกรมเมอร์ 1
3
2
โปรแกรมเมอร์ 2
3
2
รวม
9
7
คิดเป็นเปอร์เซ็นต์
90
70
เกณฑ์ที่ได้
ดี
พอใช้

สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 2
            ทางทีมงานได้สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกใช้บริษัท Aมาพิจารณา เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด
แนวทางเลือกที่ 3 ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ
ลำดับที่
ความต้องการในการพัฒนาระบบเงื่อนไขการพิจารณา
แนวทางเลือกใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ

ความต้องการในระบบตาม TOR

1.
หน้าที่การทำงาน
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่ได้จัดทำไว้
2.
ความยืดหยุ่น
สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการ โดยไม่กระทบกับโครงสร้างหลักขององค์กรและยังออกแบบระบบให้สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคตด้วย

เงื่อนไข

1.
ต้นทุน รวมค่าบำรุงรักษา
230,000
2.
การบริการหลังการขาย/ติดตั้งแล้วเสร็จ
ติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งานได้ตลอด โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
3.
คู่มือประกอบการใช้งาน
จัดทำคู่มือประกอบการใช้งาน
4.
ระยะเวลาส่งมอบ
6 เดือน
5.
ขีดความสามารถของพนักงาน
ทีมงานทั้ง 3 คน มีขีดความสามารถที่จะพัฒนาระบบเองได้ โดยใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิมและเพิ่มเติมได้เอง

การประเมินแนวทางเลือกที่ 3
                ไม่มีการประเมิน เพราะไม่มีการเปรียบเทียบ
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 3
         ทางทีมงานพิจารณาแล้วว่า มีขีดความสามารถที่จะพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการของผู้ใช้งานตามที่จัดทำโดยใช้ระยะเวลาดำเนินการจำนวนทั้งสิ้น 6 เดือนและมีค่าใช้จ่ายในการดำ เนินงานจำนวนเงินทั้งสิ้น 230,000 บาท (ค่าเงินเดือน ค่าอุปกรณ์ ค่าล่วงเวลา ค่าเบ็ดเตล็ดและค่าสำรองฉุกเฉินเป็นต้น)
เปรียบเทียบแนวทางเลือกทั้งสาม
               
ผลจากการพิจารณาแนวทางเลือกของทีมงานจากทั้งสามแนวทางจะนำเสนอเข้าสู่การพิจารณาของผู้บริหารเพื่อพิจารณาเลือกแนวทางตามที่ได้นำเสนอจากทีมงานพัฒนาพร้อมข้อเสนอแนะในแต่ละแนวทางเลือกหลักทั้งสาม โดยมีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
ตารางเปรียบเทียบการพิจารณาแนวทางเลือกทั้งสามแนวทาง
ลำดับที่
ความต้องการในระบบ/เงื่อนไขพิจารณา
แนวทางเลือกทั้ง 3


การจัดซื่อซอฟแวร์สำเร็จรูป B
ว่าจ้างบริษัทจากบุคคลภายนอก พัฒนาระบบที่ A
ใช้ทีมงามเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ
ความต้องการของระบบ
1
หน้าที่การทำงาน
ตรงตามข้อกำหนดในการพัฒนาระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย และการสั่งซื่อสินค้า
ตรงตามข้อกำหนดในการพัฒนาระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย และการสั่งซื่อสินค้า
สามารถพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการที่จัดทำไว้
2
ความยืดหยุ่น
ปรับแต่งได้ ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้าง
ปรับแต่งได้ ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้าง
ปรับแต่งได้ตามความต้องการของผู้ใช้งานแล้วยังได้ออกแบบระบบให้สามารถรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคตได้ด้วย
เงื่อนไข
1
ต้นทุน รวมค่าบำรุงรักษาระบบ
220,000
320,000
230,000
2
การบริการหลังการขาย/ติดตั้งแล้วเสร็จ
ติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งาน 7 วัน  โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ติดตั้งและฝึกอบรมการใช้งาน 5วัน  โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
สามารถให้การฝึกอบรมแก่ผู้ใช้งานรวมไปถึงการบำรุงรักษาระบบให้เป็นปัจจุบัน
3
คู่มือประกอบการใช้งาน
มีคู่มือสำหรับผู้ใช้งาน พร้อมสอบถามปัญหาได้ทางโทรศัพท์หรือ e-mail
มีคู่มือสำหรับผู้ใช้งาน พร้อมสอบถามปัญหาได้ทางโทรศัพท์หรือ e-mail
จัดทำคู่ประการใช้งาน
4
ระยะเวลาส่งมอบ
29 วัน
50 วัน
เดือน

ผู้บริหารเลือกแนวทางที่ดีที่สุด
หลังจากหัวหน้าทีมงานได้เสนอแนวทางเลือก โดยจัดทำข้อมูลเปรียบเทียบและข้อเสนอแนะแก่ทีมผู้บริหาร โดยใช้กฎเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) ดังตารางต่อไปนี้

ทีมงาน/ซอฟต์แวร์
เปรียบเทียบการใช้น้ำหนัก( คะแนนเต็ม10 )

ทีมงาน/ซอฟต์แวร์
เปรียบเทียบการใช้น้ำหนัก( คะแนนเต็ม10 )
จัดซื้อซอฟแวร์สำเร็จรูป
การว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัตนาระบบ
ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ
หัวหน้าทีม(นักวิเคราะห์ระบบ)
2
2
4
โปรแกรมเมอร์ 1
2
2
3
โปรแกรมเมอร์ 2
3
1
2
รวม
7
5
9
คิดเป็นเปอร์เซ็นต์
70
50
90
เกณฑ์ที่ได้
ดี
พอใช้
ดีมาก

สรุปผลการประเมินโดยทีมงานผู้บริหาร
                ทางทีมงานผู้บริหารได้พิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทางใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ (In-House Development) เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานและความคุ้มค่าในการลงทุนแล้ว ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีของพนักงานภายในบริษัท พร้อมทั้งได้กำหนดมาตรการและมอบหมายแก่ผู้บังคับบัญชาโดยตรง คอยควบคุมดูแลทีมงานพัฒนาให้ดำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ขั้นตอนที่ 2
การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ 
เป้าหมาย
นำสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในด้านระบบการจองสินค้า เพื่อให้สะดวกสบายกับลูกค้า
วัตถุประสงค์
โครงการการพัฒนาระบบการจองสินค้า มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความสะดวกสบายในการสั่งจองสินค้าและพัฒนาระบบให้ทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการขอลูกค้าได้
ขอบเขตของระบบ
โครงการพัฒนาระบบการการพัฒนาระบบการตลาด การประชาสัมพันธ์และระบบบุคคลของบริษัทได้มีการจัดทำขึ้นโดยการว่าจ้างบริษัท A มารับผิดชอบโครงการ พร้อมกันนี้ได้กำหนดขอบเขตของระบบนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
            ระบบต้องมีการวางแผนการตลาด
                ระบบจะต้องทำงานแบบ Multi User ได้
                ระบบต้องทำงานได้เร็วและสะดวก
                ระบบต้องมีการประชาสัมพันธ์ที่ดึงดูดลูกค้า
                ระบบมีการผิดพลาดที่น้อยที่สุด
                ระบบต้องมีความถูกต้องและแม่นยำได้
ปัญหาที่พบจะระบบเดิม
1.ความล่าช้าในการเดินทางมาสั่งสินค้า
2.ความสิ้นเปลืองค่าเดินทางมาสั่งสินค้า
3.การสั่งสินค้าไม่เป็นระบบทำให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย
ความต้องการในระบบใหม่
1.ความรวดเร็วในการสั่งสินค้า
2.ความถูกต้องสมบูรณ์ในการสั่งสิค้า
3.ลดความผิดพลาดในการสั่งสินค้า
4.สามารถลดหรือเพิ่มสินค้าได้อย่างสะดวกสบาย
ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบใหม่
1.บริษัทสามารถทราบข้อมูลจำนวนการสั่งสินค้าที่แน่นอน
2.มีความสะดวกในการเช็คจำนวนสินค้าที่สั่ง
แนวทางในการพัฒนา
การพัฒนาระบบของบริษัท มาลี จำกัด เป็นการพัฒนาระบบในส่วนของ ของระบบกาตลาดและระบบบุคคล ประชาสัมพันธ์ ในส่วนของระบบการตลาดในบริษัทเพื่อเพิ่มรายได้ของบริษัท สร้างภาพพจน์ที่ดีขึ้น ตามความต้องการในระบบใหม่ที่ทีมงานได้รวบรวมจากผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องดังกล่าว และผ่านการอนุมัติให้ดำเนินโครงการแล้วจากนั้นจึงได้จำ ลองขั้นตอนการทำ งานของระบบใหม่นำเสนอให้ผู้บริหารและผู้ใช้ระบบเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและนำ มาแก้ไขให้ตรงตามความต้องการ
1.   การค้นหาและเลือกสรรโครงการ
2.   การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
3.   การวิเคราะห์ระบบ
4.   การออกแบบเชิงตรรกะ
5.   การออกแบบเชิงกายภาพ
6.   การพัฒนาและติดตั้งระบบ
ขั้นตอนที่  1 การค้นหาและเลือกสรรโครงการ ( Project Identification and Selection )
      เป็นขั้นตอนในการค้นหาโครงการเพื่อพัฒนาระบบใหม่ให้เหมาะสมกับระบบเดิมหรือให้เหมาะสมกับองค์กรที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือต้องการระบบเพื่อนำมาใช้ในการบริหารงานในส่วนที่เกิดความบกพร่องของบริษัท  เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในการทำงานขององค์กร
                ดังนั้นจึงได้ยกตัวอย่างบริษัทที่ต้องการพัฒนาระบบคือบริษัท มาลี จำกัด ข้อมูลดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น  ในส่วนของระบบที่ต้องการแก้ไขคือ
1.มีความสะดวกในการสั่งสินค้า
2.ลดความผิดพลาดในการสั่งสินค้า
ขั้นตอนที่  2  การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
                เป็นขั้นตอนในการเริ่มต้นทำโครงการด้วยการเริ่มต้นจัดตั้งทีมงาน    ซึ่งเราจะต้องกำหนดหน้าที่ให้กับทีมงานแต่ละคนอย่างชัดเจนเพื่อร่วมกันสร้างแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งานและนอกจากขั้นตอนดังกล่าวแล้วยังมีขั้นตอนอื่นอีกมากที่เกี่ยวข้องซึ่งเราสามารถสรุปกิจกรรมในขั้นตอนนี้ได้ดังนี้
1. เริ่มต้นทำโครงการ ก่อนเริ่มทำโครงการเราควรศึกษาระบบเดิมในการทำงานก่อน
2. กำหนดวัตถุประสงค์หรือทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้
3. วางแผนการทำงานของระบบใหม่
ขั้นตอนที่  3  การวิเคราะห์
1.      ศึกษาขั้นตอนการทำงานของระบบเดิม  ดูว่าการทำงานของระบบการตลาด  มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อย่างไรและเหตุใดจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบเดิม  และระบบที่เปลี่ยนแปลงนี้จะเปลี่ยนในส่วนของระบบการสั่งซื่อสินค้า
2.      การรวบรวมความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ  ศึกษาหรือสอบถามข้อมูลของระบบเดิมจากพนักงานหรือผู้ใช้ระบบ
3.      จำลองแบบความต้องการที่รวบรวมได้    เมื่อเรารวบรวมข้อมูลมาได้แล้ว   ก็สามารถออกแบบจำลองดังกล่าวได้   ด้วยวิธีการใดก็ได้ที่นักวิเคราะห์ระบบนำมาใช้ในการทำงานของระบบ
ขั้นตอนที่  4  การออกแบบเชิงตรรกะ
                เป็นขั้นตอนในการออกแบบขั้นตอนการทำงานของระบบในแต่ละส่วนงานหรือแต่ละแผนกของงาน  ซึ่งในการออกแบบระบบ  ระบบงานที่ได้ในแต่ละส่วนจะไม่เหมือนกัน  ซึ่งอาจจะมีแบบฟอร์มหรือผลลัพธ์ที่ได้เมื่อเราวิเคราะห์ขบวนเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ขั้นตอนที่  5  การออกแบบเชิงกายภาพ
                ในขั้นตอนนี้เป็นการทำงานของระบบในส่วนของเทคนิคของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการปรับปรุงระบบอาจจะเป็นระบบรายรับรายจ่าย  ฐานข้อมูล   เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบสามารถเข้าใจขั้นตอนการทำงานมากขึ้น  ซึ่งสิ่งที่ได้ในส่วนนี้จะเป็นแค่การออกแบบหลังจากนั้นจะทำการส่งให้โปรแกรมเมอร์ต่อไป
ขั้นตอนที่   6   การพัฒนาและติดตั้งระบบ
 ขั้นตอนนี้จะนำข้อมูลเฉพาะในส่วนที่ต้องการออกแบบของระบบมาทำการเขียนโปรแกรม  เพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการของระบบงานใหม่  อาจนำโปรแกรมที่เขียนสำเร็จรูปแล้วมาใช้งานในระบบก็ได้  หลังจากเขียนโปรแกรมแล้วเราก็ควรทำการทดลองว่าโปรแกรมใช้งานได้เหมาะสมกับการทำงานของบริษัทหรือไม่  ซึ่งในขั้นตอนนี้มีกระบวนการทำงานดังนี้
1. เขียนโปรแกรม
2. ทดสอบโปรแกรม
3. ติดตั้งระบบ
4. จัดทำเอกสาร สรุปผลการทำงานของระบบ
ขั้นตอนที่   7   การประชาสัมพันธ์
เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการปรับปรุง เพื่อให้ลูกค้าเกิดความสนใจในสินค้าที่เรานำเสนอ และเกิดความพึงพอใจในเครื่องดื่มและไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการทำระบบ
จำลองขั้นตอนการทำงานของระบบด้วย  DFD

จาก การวิเคราะห์ความต้องการระบบใหม่ที่รวบรวมมาได้จากผู้ใช้ระบบ โดยสามารถจำลองได้ด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล  (Data Flow Diagram : DFD)  ได้ดังนี้


Context Diagram
Context  Diagram  ใช้แสดงเส้นทางการไหลของข้อมูลในระบบในระดับสูงสุด  ซึ่งจะเป็นการแสดงให้เห็นถึงการอินพุตของข้อมูลที่เข้าไปในระบบและผลลัพธ์ ที่ได้รับจากระบบว่ามีการทำงานอย่างไร   ซึ่งจะเป็นภาพรวมของระบบ

Data Flow Diagram level 1
Data Flow Diagram level 2
Data Flow Diagram level 3